ผู้เขียน หัวข้อ: กระชายสกัด: ชนิดของ “วิตามิน” ตามการละลาย  (อ่าน 99 ครั้ง)

siritidaphon

  • Sr. Member
  • ****
  • กระทู้: 370
    • ดูรายละเอียด
กระชายสกัด: ชนิดของ “วิตามิน” ตามการละลาย
« เมื่อ: วันที่ 21 มีนาคม 2024, 18:07:45 น. »
วิตามิน ถูกแบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม ตามการละลาย ดังนี้

– วิตามินกลุ่มที่ละลายในไขมัน เป็นกลุ่มที่ไม่สามารถขับออกมาทางปัสสาวะได้ ร่างกายจะดูดซึมต่อเมื่อละลายในไขมันหรือน้ำมันเท่านั้น ทำให้มีข้อเสียคือ ร่างกายเกิดการสะสมากได้รับในปริมาณที่มากเกินไป คือ วิตามินดี (Vitamin D) , วิตามินอี (Vitamin E) , วิตามินเค (Vitamin K) และวิตามินเอ (Vitamin A)

– วิตามินกลุ่มที่ละลายในน้ำ คือ วิตามินซี (Vitamin C) , วิตามินบี (Vitamin B) สำหรับกลุ่มนี้ร่างกายจะสามารถขับออกมาเองได้ เมื่อได้รับปริมาณที่มากเกินไป เกินความจำเป็นต่อปริมาณวิตามินที่ร่างกายควรได้รับในแต่ละวัน วิตามินซี (Vitamin C) ร่างกายต้องการเพียงวันละ 10-15 มิลลิกรัมเท่านั้นต่อวัน วิตามินบี (Vitamin B) ร่างกายสามารถได้รับจากอาหารจำพวกนม ไข่แดง เนื้อสัตว์ หรือจมูกข้าว แนะนำสำหรับกลุ่มคนที่ทานมังสวิรัติและรับประทานอาหารเจ เป็นประจำ ควรรับประทานผลิตภัณฑ์เสริมอาหารที่มีวิตามินบี เพื่อไม่ให้ร่างกายขาดสารอาหาร


แหล่งที่มาของ “วิตามิน”

อาหาร ถือเป็นแหล่งที่มาของวิตามินที่ดีที่สุด ซึ่งวิตามินจะแตกต่างกันขึ้นอยู่กับชนิดของวิตามิน บางชนิดร่างกายไม่สามารถสร้างขึ้นได้เอง ต้องได้รับจากภายนอกโดยการรับประทานอาหาร วิตามินที่มีประสิทธิภาพสามารถหาได้จาก 4 แหล่งหลักๆ คือ

– วิตามินที่ได้จากผักและผลไม้ เช่น สตรอว์เบอร์รี มะละกอ ผักโขม มะละกอ ฝรั่ง ส้ม ตระกูลเบอร์รี่มังคุด ลำไย แอปเปิล กล้วย และถั่วต่างๆ
– การรับประทานวิตามิน จากผลิตภัณฑ์เสริมอาหารที่มาในรูปสารสกัดจากผัก ผลไม้หรือแหล่งที่มาอื่นๆของวิตามิน ซึ่งถือเป็นตัวช่วยที่ดีของผู้ที่มีเวลาดูแลตัวเองน้อย
– วิตามินที่ได้จากธรรมชาติ อย่างเช่น วิตามินดี (Vitamin D) จะได้รับผ่านแสงแดด เป็นการเพิ่มระดับวิตามินดีให้ร่างกายที่สามารถทำได้ง่ายๆ
– วิตามินที่ร่างกายสามารถเองได้ คือ วิตามินบี3 หรือ ไนอะซิน (Niacin) ร่างกายสามารถสร้างเองได้จากกรดอะมิโนทริปโตแฟน (Tryptpphan) หรือแม้แต่แบคทีเรียในลำไส้ใหญ่ ก็ช่วยสร้างวิตามินให้ร่างกายหลายชนิด

วิตามินซี (Vitamin C) และ วิตามินบี (Vitamin B) ควรรับประทานทุกวัน เพราะเป็นวิตามินกลุ่มที่สามารถละลายได้ในน้ำ และจะถูกกำจัดออกทางของเสียร่างกายทางเหงื่อและทางปัสสาวะ จะไม่ถูกสะสมหรือกักเก็บในร่างกายได้นาน และถึงแม้ว่าร่างกายจะได้รับวิตามินกลุ่มนี้มากเกินไป ส่วนเกินที่ร่างกายรับประทานเข้าไป วิตามินาก็จะถูกขับออกทางของเสียตามร่างกาย โดยไม่ทำให้เกิดพิษหรือเป็นอันตรายต่อร่างกายแต่อย่างใด

แต่นอกจากวิตามินซี (Vitamin C) และ วิตามินบี (Vitamin B) ก็ยังมีวิตามินเอ (Vitamin A) วิตามินดี (Vitamin D) วิตามินอี (Vitamin E) ที่มีประโยชน์ และร่างกายควรได้รับวิตามินอื่นๆที่มีความจำเป็นต่อร่างกายอย่างเพียงพอ เพื่อให้ร่างกายได้รับการบำรุง ซ่อมแซม และฟื้นฟูในส่วนที่สึกหรออยู่เสมอ



กระชายสกัด: ชนิดของ “วิตามิน” ตามการละลาย อ่านบทความเเพิ่มเติมคลิ๊กที่นี่ https://mmed.com/products/